Author: admin.tuda

ด้วยสมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย ได้จัดทำหนังสือ ข้อแนะนำการออกแบบบาทวิถีและสิ่งแวดล้อมเพื่อทุกคน (Design Recommendation on Pathways and Environments for All) เป็นหนังสือการออกแบบบาทวิถีและสิ่งอำนวยความสะดวกบนบาทวิถี ให้สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตสำหรับประชาชนทุกเพศทุกวัย ทั้งเด็ก ผู้หญิง คนชรา และคนพิการ

เมื่อวันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม 2561 ได้มีการแสดงผลงานแนวคิดการออกแบบจากนิสิตสาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง (Urban Design) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีโจทย์การออกแบบในหัวข้อเรื่อง "Khon Kaen Green Future: สถาปัตยกรรมสีเขียวในเมืองอัจฉริยะแห่งอนาคตที่ยั่งยืน "

การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2561 สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทยและการสัมมนาวิชาชีพ หัวข้อ "สถาปนิกผังเมืองไทยรุ่นใหม่ - YOUNG THAI URBAN DESIGNERS" โอกาส ทางเลือก และมุมมองของสถาปนิกผังเมืองไทยรุ่นใหม่ จากภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยวิทยากรรับเชิญ 5 ท่าน คุณปรีชญา นวราช : สถาปนิกผังเมือง / ศูนย์ออกแบบพัฒนาเมือง (UddC) คุณพงษ์พิพัฒน์ ช้างพันธุ์ : สถาปนิกผังเมือง / บริษัท Urbanspace จำกัด คุณชินาภรณ์ มีฉัยยา : Senior Project Coordinator & Hydologist

พื้นที่ว่างสาธารณะขนาดเล็ก-พื้นที่ทางสังคมของชุมชนไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร: 02 2184445 / อีเมล์: khaisri.p@chula.ac.th

กำแพงในซอยและรั้วในใจ การปรับแนวคิดในการฟื้นฟูเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร: 02 2184444 / อีเมล์: khaisri.p@chula.ac.th

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพนันท์ ตาปนานนท์ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จั่วหัวขึ้นมาอย่างนี้ เพราะถึงแม้ทั้งคู่จะทำเรื่องเกี่ยวกับเมือง ๆ ก็ตาม แต่บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบและองค์ความรู้เบื้องหลังนั้นต่างกันอย่างสิ้นเชิง แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าหลักสูตรการวางแผนเมืองในหลายมหาวิทยาลัยในไทย ถูกจัดเข้าไปอยู่ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เพียงเพราะว่าเป็นที่ ๆ มีหลักสูตรการออกแบบเมือง (urban design) อยู่เดิม

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   การควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมกับกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง  ตามที่ได้มีการใช้บังคับพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ.2543 และกฎกระทรวงกำหนด วิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ.2549 ซึ่งได้กำหนดนิยาม “’สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง’